ศึกษา หลักกัลยาณมิตรของผู้ให้การปรึกษาและแนะแนว การปรึกษาและแนะแนวตามหลักจริต ๖ การ
พัฒนาพฤติกรรมตามหลักภาวนา ๔ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมไทยตามหลักพระพุทธศาสนา การปรึกษา
และแนะแนวอัตลักษณ์และจิตลักษณ์ทางสังคมและทางเพศ หลักการควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก สืบเนื่องจากวิญญาณ
คือความรอบรู้ความเข้าใจ จากการสัมผัสจากสิ่งเร้า การพิจารณาถึงความจริงของสภาวธรรมทั้งหลายตามสามัญ
ลักษณะ และการดารงชีวิตตามหลักอริยมรรค
พระมหากษัตริย์กับการพัฒนาสังคมไทย
การนำแนวทางการสอนของพระมหากษัตริย์ไปจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา พระมหากษัตริย์ผู้เป็นครูของแผ่นดิน
แนวทางปรัชญาต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนาสังคม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และพระราชกรณียกิจที่พัฒนา ทั้งทางด้านการศึกษา
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมไทย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่เป็นความจริงเกี่ยวกับประวัติส่วนตัวในเรื่องความสนใจ
ความสามารถ ความถนัด เจตคติ ลักษณะนิสัย อารมณ์ โดยใช้เทคนิค การใช้แบบทดสอบ
การใช้แบบสอบถามหรือแบบเจตคติ การสัมภาษณ์ การสังเกต
การใช้เทคนิคสังคมมิติและการทดลอง
ศึกษาการพูด
อ่าน เขียน ภาษาบาลี ต่อจากการใช้ภาษาบาลี ๑ และแปลภาษาบาลีเป็นไทย และภาษาไทย เป็นภาษาบาลี
โดยใช้หนังสือมังคลัตถทีปนีและวิสุทธิมรรค ประกอบ
รู้และเข้าใจ แนวคิด ทฤษฏีและความสำคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสามารถใช้นวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อการออกแบบ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
หลักการ และกระบวนการคิด และการตัดสินใจในเชิงกลยุทธ์ วิธีการเจริญสติ
และการเสริมสร้างคุณธรรมสำหรับครู โดยศึกษาจากเกมหมากล้อม
โดยใช้ทักษะการคิด
ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเรียนรู้ และทักษะกระบวนการกลุ่ม
การสอนหลักธรรมตามหลักพุทธธรรม การจัดหมวดหมู่ของหลักธรรม
การออกแบบการสอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การกำหนดแผนการสอน
การใช้สื่อและเทคโนโลยีช่วยสอน และวิธีการสอน การสอนแบบบูรณาการ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ศึกษาปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษาพุทธปรัชญาและหลักการศึกษาในพระพุทธ ศาสนา วิวัฒนาการของการศึกษาโลก ประวัติและระบบการจัดการศึกษาของไทย วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย การจัดการศึกษาตามปรัชญาและบริบทของสังคมไทย และกลยุทธ์การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความหมาย ความสำคัญและประเภทของสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การออกแบบนวัตกรรมการ
เรียนรู้ การเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
การผลิตสื่อการสอน และการเผยแพร่สื่อการสอนในระบบออนไลน์และออฟไลน์
จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานด้านภูมิศาสตร์และสามารถประยุกต์เนื้อหาวิชานำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร์ ตลอดจนเข้าใจสภาพปัญหาทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยและของโลก
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นิสิตมีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน และสามารถประยุกต์ใช้ให้เข้ากับวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและสามารถเรียนจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศได้
คำอธิบายรายวิชา
สัณฐานของโลกและปรากฎการณ์ที่เกิดเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ สมบัติทางด้านกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค (Lithosphere) อุทกภาค (Hydrosphere) บรรยากาศ (Atmosphere) และชีวมณฑล (Biosphere) และการปฏิบัติภาคสนาม
นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและเนื้อหาของสภาพภูมิศาสตร์
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรสภาวการณ์ทางการเกษตร การอุตสาหกรรม
การค้า การคมนาคมขนส่ง และภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
พื้นฐานความรู้ทางการอ่าน การแปลความหมายและเขียนแผนที่ การเก็บข้อมูล และการแสดงข้อมูลทั้งทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมในแผนที่ ตลอดจนเทคนิคการใช้เครื่องมือและนวัตกรรมในการสร้างแผนที่ การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การเลือกใช้แผนที่ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ การฝึกปฏิบัติภาคสนาม
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษากับการสื่อสาร การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารผ่านทักษะการเรียนรู้ภาษา ๔ ด้าน ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน และศึกษาระเบียบงานสารบรรณ
ศึกษาความหมายและความเป็นมาเกี่ยวกับมนุษย๑และสังคม ต ามหลักการทาง สังคมศาสตร๑และ พุทธศาสตร๑ พฤติกรรมมนุษย๑กับการพัฒนาตน การปฏิสัมพันธ๑ระหวําง มนุษย๑กับสังคม สถาบันสังคม ประชาสังคม หลักธรรมาภิบาลและสันติภาพ กระบวนการ ทางสังคมและวัฒนธรรม การวิเคราะห๑ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบัน รวมทั้งแนวทาง แก๎ปัญหาแบบสันติวิธี
วิธีวิทยายาการวิจัยทางการศึกษา ทฤษฏีและรูปแบบการวิจัย กระบวนการการวิจัย สถิติเพื่อการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียน การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติการวิจัยโดยการศึกษาค้นคว้างานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนรู้ เสนอโครงการเพื่อทำวิจัย ดำเนินการวิจัย เขียนรายงานการวิจัย และนำเสนอผลงานวิจัย
ศึกษาความเป็นมาและพัฒนาการของมนุษย์
ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยปัจจุบัน ความหมายของอารยธรรม บ่อเกิดและพัฒนาการของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตกในยุคต่าง
ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางสังคม
เศรษฐกิจและการเมืองของสังคมตะวันออกและตะวันตก
ที่ก่อให้เกิดผลกระทบและความคิดสร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ
การแลกเปลี่ยนกันระหว่างอารยธรรมตะวันออกกับตะวันตก และอิทธิพลของอารยธรรมทั้งสองที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษากับการสื่อสาร
การฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน การอ่านคำร้อยแก้ว
คำร้อยกรอง อ่านประกาศ แถลงการณ์ การเขียนจดหมาย ย่อความ เรียงความ โวหารต่าง ๆ
การพูด การสนทนา บรรยาย อภิปราย มารยาทการพูด การฟัง การจับสาระของเรื่อง
มารยาทในการฟัง และศึกษาระเบียบงานสารบรรณ
ปรัชญา
หลักการและจิตวิทยาพื้นฐาน จุดมุ่งหมาย กระบวนการ สื่อการเรียนรู้
การวัดและการประเมินผล ในการจัดการเรียนรู้แบบอารยวิถีในกระบวนวิถีสืบสวน - สอบสวน
ฝึกออกแบบการจัดการเรียนรู้สร้างสื่อการเรียนรู้
ฝึกจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ ทดลองสอนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียนภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ผู้สอน
๒๐๙ ๒๐๒ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแนวพุทธ (Buddhism Learning Management for Enhancing Ethical and Morality) |
๓ (๒-๒-๕) |
ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแนวพุทธ หลักการ วัตถุประสงค์และกระบวนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เทคนิคการเรียนรู้เพื่อสร้างคุณธรรมจริยธรรมแนวพุทธ บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะของครูที่ดี ฝึกออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลการจัดการเรียนรู้ |
การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อสร้างทางเลือกในความก้าวหน้าให้กับชีวิตด้วยวิธีการ การจัดการองค์ความรู้ที่เหมาะสมของแต่ละบุคคล การพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปัญญา โดยใช้เทคนิคในการพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพดี วางแผนล่วงหน้า ขจัดความขี้เกียจ ฝึกนิสัยประหยัดอดออม หัดคิดในมุมสร้างสรรค์ ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค เคารพตนเอง