- ศึกษาเปรียบเทียบความหมาย ลักษณะ ขอบข่ายและวิธีการแสวงหาความจริงของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
- พระพุทธศาสนากับทฤษฎีวิวัฒนาการ พระพุทธศาสนากับทฤษฎีสัมพัทธภาพ พระพุทธศาสนากับทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์
- ทัศนะของนักวิทยาศาสตร์ที่มีต่อพระพุทธศาสนา และผลกระทบระหว่างวิทยาศาสตร์และประยุกตวิทยากับพระพุทธศาสนา
วัตถุประสงค์
- เพื่อเสริมศักยภาพและเพิ่มพูนความรู้ด้านภาษาอังกฤษ
- เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ภาษากับการสื่อสาร
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสารผ่านทักษะการเรียนรู้ภาษา ๔ ด้าน
ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทย เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน และศึกษา
ระเบียบงานสารบรรณ
ศึกษากลุ่มศัพท์ต่าง ๆ ที่เป็นชื่อ/คำเรียกบุคคล สัตว์ สถานที่ ธรรมชาติ
และหลักธรรมที่จัดแบ่งเป็นกัณฑ์จากคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา
บทที่ 1 ประวัติความเป็นมาของชาดก
บทที่ 2 ศึกษากำเนิดเรื่องชาดก 35 เรื่อง
บทที่ 3 หลักธรรมในชาดก
บทที่ 4 วิเคราะห์หลักธรรมในชาดก
บทที่ 5 บทกระทบจากชาดกที่มีต่อสังคมไทย
บทที่ 6 สรุป
ศึกษาการจัดนิกาย การจัดวรรคออกเป็น ๓ วรรค เนื้อหาพระพสูตรทั้ง ๓๔ สูตร มีพรหมชาลสูตรเป็นต้น
สามารถวิเคราะห์
- เหตุเกิด
- สถานที่
- บุคคลสำคัญ
- หลักธรรมในแต่ละพระสูตรที่กำหนดให้ได้
ศึกษาหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสันติภาพ หลักการและวิธีการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแนวพุทธโดยเน้นรูปแบบและวิธีการสังฆสามัคคีและใช้แนวคิดเรื่องสันติภาพทางตะวันตกมาเทียบเคียง
ศึกษาการจัดนิกาย การจัดเป็น ๑๑ นิบาต ๕๖ สังยุตต์ ๑๘๕ วรรค ๓ เปยยาล และอันตรเปยยาล เนื้อหาพระสูตร ๒,๗๕๒ วิเคราะห์เหตุเกิด สถานที่ บุคคลสำคัญ หลักธรรมและพระสูตรที่กำหนดให้
นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก เป็นรายวิชาหนึ่งที่ให้นิสิตได้แสดงออกทั้งในด้านปฏิบัติและวิชาการ โดยอาศัยหลักธรรมำสอนที่มาจากพระไตรปิฎกรวมถึงนิทานชาดกที่มาจาก คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาให้ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าแล้วนำไปเผยแผ่เพื่ต้องการให้ผู้รับสารได้เข้าใจและนำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสุขแก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
ศึกษาการจัดนิกาย การจัดวรรคแบ่งออกเป็น ๑๕ วรรค เนื้อหาพระสูตรทั้ง ๑๕๒ สูตร
มีสติปัฏฐานเป็นต้น
สามารถวิเคราะห์เหตุเกิด สถานที่ บุคคลสำคัญ หลักธรรม และพระสูตรที่กำหนดให้
- ด้านการพูด (Parts of Speech)
- การใช้ประโยค (Sentence)