การจัดการทุนมนุษย์ในประชาคมอาเซียน
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาปรัชญา ความเป็นมา แนวคิดของการจัดการทุนมนุษย์ ภายใต้หลักการจัดการทุนทางปัญญา ทุนทางสังคม ทุนทางอารมณ์ และนโยบายการบริหารทุนมนุษย์ตั้งแต่การวางแผนกำลังคน ทิศทางการพัฒนาฝีมือแรงงาน การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนโยกย้ายฝีมือแรงงานในประชาคมอาเซียน ศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อสภาพแวดล้อม 3 เสาหลักอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงในอาเซี่ยน ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสัมคมวัฒนธรรมอาเซียน แนวทางมราสร้างสรรในการปรับตัวภายใต้สังคมพหุนิยมวัฒนธรรมให้อย฿่รวมกันในประชาคมอาเซียนอย่างสันติ มุมมองต่ออนาตคของสังคมประชาคมอาเซียน

การบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎี และนโยบายเกี่ยวกับงบประมาณและการคลังสาธารณะ บทบาทและ

อิทธิพลของการเมืองที่มีต่องบประมาณและการคลังของประเทศ กระบวนการงบประมาณ เทคนิคและวิธีการ

วิเคราะห์งบประมาณ การสรุปการใช้จ่ายงบประมาณ โดยเน้นศึกษาการบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ

ของประเทศไทย


งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษางานวิจัยทางพระพุทธศาสนาและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่น่าสนใจ เช่น เตภูมิกถาของพญาลิไท มังคลัตถทีปนีของพระสิริมังคลาจารย์ กาพย์มหาชาติของพระเจ้าทรงธรรม สังคีติยวงศ์ของสมเด็จพระวันรัต (แก้ววัดพระเชตุพน พระมงคลวิเสสกถาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แก่นพุทธศาสน์ ของพุทธทาส กรรมทีปนีของพระพรหมโมลี (วิลาส ญาณวโร) พุทธธรรมของพระพรหมคุณาภรณ์ (.. ปยุตฺโต) พุทธวิทยาของอาจารย์พร รัตนสุวรรณ และงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาหลักการ  หน้าที่ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์กรในองค์การ  การพยากรณ์เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์  การวิเคราะห์ การวางแผน  การสรรหา การคัดเลือก การปฐมนิเทศ การประเมินการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การบรรจุแต่งตั้งระบบการจ่ายค่าตอบแทน ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและพนักงาน สุขภาพความปลอดภัย คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพระพุทธศาสนา


ธรรมภาคปฏิบัติ3
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษา ความเป็นมา  ความหมาย  หลักการ  วิธีการ  และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน  ๔๐  วิปัสสนาภูมิ  ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่  ภาวนา  ๓  นิมิต  ๓  สมาธิ  ๓  รูปฌาน  ๔  อรูปฌาน  ๔  วสี  ๕  นิวรณ์  ๕  อุปกิเลส  ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ  นั่งกำหนด  ๑  ระยะ  หรือ  ๒  ระยะ

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความหมายของภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาของวิชาภาษาศาสตร์

ลักษณะทั่วไปของภาษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสัทศาสตร์ (Phonetics) สร

ศาสตร์ (Phonemics) สัทอักษรสากล สัทอักษรไทย และหลักวิเคราะห์

ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์

ธรรมภาคปฏิบัติ7
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความเป็นมา  ความหมาย  หลักการ  วิธีการ  และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน  ๔๐  วิปัสสนาภูมิ  ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่  ภาวนา  ๓  นิมิต  ๓  สมาธิ  ๓  รูปฌาน  ๔  อรูปฌาน  ๔  วสี  ๕  นิวรณ์  ๕  อุปกิเลส  ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ  นั่งกำหนด  ๑  ระยะ  หรือ  ๒  ระยะ

ธรรมภาคปฏิบัติ6
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความเป็นมา  ความหมาย  หลักการ  วิธีการ  และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน  ๔๐  วิปัสสนาภูมิ  ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่  ภาวนา  ๓  นิมิต  ๓  สมาธิ  ๓  รูปฌาน  ๔  อรูปฌาน  ๔  วสี  ๕  นิวรณ์  ๕  อุปกิเลส  ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ  นั่งกำหนด  ๑  ระยะ  หรือ  ๒  ระยะ

การบริหารทรัพยากรมนุษย์
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาหลักสำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับความก้าวหน้าทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจของประเทศและของโลก การรับบุคลากรภาครัฐ การฝึกอบรม การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน คุณธรรม จริยธรรมของผู้ปฏิบัติงาน การประเมินผลการทำงาน สิทธิประโยชน์ของทรัพยากรมนุษย์ ขวัญกำลังใจในการทำงานและแนวโน้มในการบริหารทรัพยากรมนุษย์


การปกครองคณะสงฆ์ไทย
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาพัฒนาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบันศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆกฎระเบียบ คำสั่งและประกาศที่สำคัญของคณะสงฆ์ การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันสำหรับคณะสงฆ์ไทย


เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ ปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันรูปแบบต่างๆของระบบเศงภาครัฐและภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ การทำงานของกลไกราคาในตลาด บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ เงินตราและสถาบันทางการเงิน เน้นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันในเรื่องที่เกี่ยวข้องเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และศึกษาเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ

ศาสนาทั่วไป
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความหมาย ลักษณะ ความสำคัญ คุณค่าของศาสนา ประวัติ พัฒนาการ หลักในการศึกษาศาสนา หลักคำสอน พิธีกรรมและจุดมุ่งหมายของศาสนาต่าง ๆ วิเคราะห์ลักษณะที่เป็นสากลร่วมกันและต่างกันของ ศาสนาปัจจุบัน อิทธิพลของศาสนาต่อสังคมโลก วิธีการเผยแผ่ศาสนา ความร่วมมือระหว่างศาสนา และท่าทีของศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย

ธรรมภาคปฏิบัติ5
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความเป็นมา  ความหมาย  หลักการ  วิธีการ  และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน  ๔๐  วิปัสสนาภูมิ  ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่  ภาวนา  ๓  นิมิต  ๓  สมาธิ  ๓  รูปฌาน  ๔  อรูปฌาน  ๔  วสี  ๕  นิวรณ์  ๕  อุปกิเลส  ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ  นั่งกำหนด  ๑  ระยะ  หรือ  ๒  ระยะ

เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาเทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้ห้องสมุด การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต วิธีแสวงหาความรู้ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์


ปรัชญาเบื้อต้น
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความหมายและขอบเขคของปรัชญา ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนาและวิทยาศาสตร์สาขาปรัชญา และสาระสำคัญของปรัชญาสาขาต่างๆ พัฒนาการของปรัชญาตะวันออกและปรัชญาตะวันตก

การจัดการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความหมาย หลักการ วิวัฒนาการ การจัดการ แนวโน้มการจัดการเผยแผ่ องค์การเผยแผ่ บทบาทของ นักเผยแผ่ และแนวคิดการจัดการศึกษาสงเคราะห์ วิเคราะห์สถานการณ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน

นโยบายสารธารณะและการวางแผน
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับนโยบายสารธารณะและการวางแผน ประเภทและวิธีการกำหนดนโยบายของรัฐ อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อนโยบาย การนำนโยบายไปกำหนดเป็นแผนงานและโครงการ เทคนิคและหลักการของการวางแผน และให้มีการศึกษาเฉพาะกรณี โดยเน้นการกำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนของประเทศไทย

ธรรมนิเทศ
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาหลักการและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา  ศิลปะการเขียนบทความ การพูดและการพัฒนาบุคลิกภาพเกี่ยวกับการพูด  การเทศนา  การแสดงปาฐกถาธรรม  การอภิปราย  และการใช้สื่อประกอบการบรรยาย

 


ภาษาอังกฤษเบื้องต้น
คณะสังคมศาสตร์
เพิ่มศักยภาพให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ  ทักษะด้านการฟัง การพูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ เน้นคำศัพท์และโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการสื่อสารในศถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในชีวิตประจำวันและการทำงาน รวมทั้งเข้าใจวัฒนธรรมเจ้าของภาษา  ตลอดจนเห็นคุณค่าของการเรียนภาษาอังกฤษ  รู้จักแสวงหาความรู้และกลยุทธ์ในการพัฒนาทักษะทางภาษา
ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑
คณะสังคมศาสตร์

ศึกษาความเป็นมา  ความหมาย  หลักการ  วิธีการ  และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน  ๔๐  วิปัสสนาภูมิ  ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่  ภาวนา  ๓  นิมิต  ๓  สมาธิ  ๓  รูปฌาน  ๔  อรูปฌาน  ๔  วสี  ๕  นิวรณ์  ๕  อุปกิเลส  ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ  นั่งกำหนด  ๑  ระยะ  หรือ  ๒  ระยะ