Font size
  • A-
  • A
  • A+
Site color
  • R
  • A
  • A
  • A
MCU e-Learning
  • English ‎(en)‎ Thai ‎(th)‎
  • Log in
Skip to main content

คณะมนุษยศาสตร์

  1. Home
  2. exam
  3. วิทยาเขตนครราชสีมา
  4. คณะมนุษยศาสตร์
หลักการแปล ( Principle  of Translation )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

หลักการแปล ( Principle of Translation )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

      นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักการ กระบวนการและกลวิธีขั้นพื้นฐานในการแปล บทบาทของการแปลในการสื่อความหมาย และปัญหาที่เกิดขึ้นในการแปลและแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

    เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักการ กระบวนการและกลวิธีขั้นพื้นฐานในการแปล บทบาทของการแปลในการสื่อความหมาย และปัญหาที่เกิดขึ้นในการแปลและแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลได้ และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

 

๑. คำอธิบายรายวิชา

     ศึกษาหลักการ กระบวนการและกลวิธีขั้นพื้นฐานในการแปล บทบาทของการแปลในการสื่อความหมาย ปัญหาที่เกิดขึ้นในการแปลและแนวทางแก้ไข


โครงสร้างและการเขียนภาษาอังกฤษ ( Structure and Writing in English )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

โครงสร้างและการเขียนภาษาอังกฤษ ( Structure and Writing in English )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

      นิสิตมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียน สามารถวิเคราะห์โครงสร้างไวยากรณ์ของประโยคและองค์ประกอบของงานเขียนระดับย่อหน้า และสามารถเขียนประโยคที่มีความสัมพันธ์ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนดได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียน สามารถวิเคราะห์โครงสร้างไวยากรณ์ของประโยคและองค์ประกอบของงานเขียนระดับย่อหน้า และสามารถเขียนประโยคที่มีความสัมพันธ์ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนดได้ และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา

       ฝึกการเขียน โดยศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างไวยากรณ์ของประโยค และองค์ประกอบของงานเขียนระดับย่อหน้า เน้นการเขียนประโยคที่มีความสัมพันธ์ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนด


ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ( Basic English )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ( Basic English )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

     นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการใช้คำนำหน้านาม (Article)  การใช้กาล (Tense) การสร้างประโยค (Sentence) การใช้บุรพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) ฝึกทักษะเบื้องต้นในการฟัง พูด อ่านและเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กัน เน้นด้านการอ่านและความเข้าใจภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรูปประโยคและคำศัพท์ต่าง ๆ

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจน และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจกฎเกณฑ์และการใช้ภาษาอังกฤษ

เกี่ยวกับการใช้คำนำหน้านาม (Article)  การใช้กาล (Tense) การสร้างประโยค (Sentence) การใช้บุรพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) ฝึกทักษะเบื้องต้นในการฟัง พูด อ่านและเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กัน เน้นด้านการอ่านและความเข้าใจภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรูปประโยคและคำศัพท์ต่าง ๆ  และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

 

๑. คำอธิบายรายวิชา

    ศึกษากฎเกณฑ์และการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการใช้คำนำหน้านาม (Article)  การใช้กาล (Tense) การสร้างประโยค (Sentence) การใช้บุรพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) ฝึกทักษะเบื้องต้นในการฟัง พูด อ่านและเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กัน เน้นด้านการอ่านและความเข้าใจภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรูปประโยคและคำศัพท์ต่าง ๆ



วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
สมพร ไพกระโทก
คณะมนุษยศาสตร์

วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

คำอธิบายรายวิชา 
     ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การสร้า ออกแบบ การนำไปใช้ การประเมินผลการปรับปรุงนวัตกรรม สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้าง ปรับปรุงนวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศสำหรับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่จะรับผิดชอบสอนในอนาคตได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับระดับการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน


การแปลแบบล่าม ( Interpretation )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

การแปลแบบล่าม ( Interpretation )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา                                   

      นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักการ  วิธีการ กระบวนการของการแปลแบบล่าม วิเคราะห์ลักษณะและรูปแบบของภาษาพูด และการพูดในที่สาธารณะ สามารถใช้ทฤษฎีและหลักการในการแปลแบบล่ามจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักการ  วิธีการ กระบวนการของการแปลแบบล่าม วิเคราะห์ลักษณะและรูปแบบของภาษาพูด และการพูดในที่สาธารณะ สามารถใช้ทฤษฎีและหลักการในการแปลแบบล่ามจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา

      ศึกษาหลักการ  วิธีการ กระบวนการของการแปลแบบล่าม วิเคราะห์ลักษณะและรูปแบบของภาษาพูด และการพูดในที่สาธารณะ ฝึกการใช้ทฤษฎีและหลักการในการแปลแบบล่าม จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ


ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์  ( English for Guide )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ ( English for Guide )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

     นิสิตมีทักษะในด้านการฟัง การพูดในระดับที่สูงขึ้น และ การใช้ภาษาในการแนะนำข้อมูลด้านศิลปะ วัฒนธรรม การเมือง การศาสนา  สังคมศึกษา อันเป็นข้อมูลของประเทศชาติ และ สามารถสนทนา รายงานปากเปล่า การอภิปรายกลุ่ม และตอบคำถามจากกลุ่มได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

      เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีทักษะในด้านการฟัง การพูดในระดับที่สูงขึ้น และ การใช้ภาษาในการแนะนำข้อมูลด้านศิลปะ วัฒนธรรม การเมือง การศาสนา  สังคมศึกษา อันเป็นข้อมูลของประเทศชาติ และ สามารถสนทนา รายงานปากเปล่า การอภิปรายกลุ่ม และตอบคำถามจากกลุ่ม เพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา

      ศึกษาและฝึกใช้ประโยคและข้อความภาษาอังกฤษต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับงานมัคคุเทศก์ เช่น การพรรณนาและบรรยายประวัติของบุคคล สิ่งของ และสถานที่น่าสนใจ รวมทั้งสาระสำคัญทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การปกครอง และเศรษฐกิจของประเทศ โดยเน้นการพูดและฟัง


ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ ( Dhamma in English )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ ( Dhamma in English )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

     นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศัพท์ธรรมะทางพระพุทธศาสนาที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภาษาอังกฤษ และหนังสือที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่นักปราชญ์ได้รจนาไว้ในภาษาอังกฤษ

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจศัพท์ธรรมะทางพระพุทธศาสนาที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภาษาอังกฤษ และหนังสือที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่นักปราชญ์ได้รจนาไว้ในภาษาอังกฤษ และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา

    ศึกษาศัพท์ธรรมะทางพระพุทธศาสนาที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภาษาอังกฤษ และหนังสือที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่นักปราชญ์ได้รจนาไว้ในภาษาอังกฤษ


 listening and speaking
purimprat mila
คณะมนุษยศาสตร์

listening and speaking

การแปลงานเขียนเฉพาะด้าน ( Specific Translation )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

การแปลงานเขียนเฉพาะด้าน ( Specific Translation )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

นิสิตสามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาและหลักการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษซึ่งเป็นงานเขียนด้านพระพุทธศาสนา ประเภทข่าว และงานวิชาการสาขาวิชาต่าง ๆ และสามารถใช้ศัพท์ สานวน ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้นิสิตสามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาและหลักการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษซึ่งเป็นงานเขียนด้านพระพุทธศาสนา ประเภทข่าว และงานวิชาการสาขาวิชาต่าง ๆ และสามารถใช้ศัพท์ สานวน ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องได้ และเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

คาอธิบายรายวิชา

ฝึกการใช้ทฤษฎีทางภาษาและหลักการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษซึ่งเป็นงานเขียนด้านพระพุทธศาสนา ประเภทข่าว และงานวิชาการสาขาวิชาต่าง ๆ และฝึกวิธีการใช้ภา ศัพท์ สานวน ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง


ภาษาอังกฤษชั้นสูง ( Advanced English )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

ภาษาอังกฤษชั้นสูง ( Advanced English )

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

     นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์และฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่านและเขียน เน้นการอ่าน การเขียนและความเข้าใจข้อความภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคำศัพท์และโครงสร้างประโยคสัมพันธ์กับเอกสารที่ใช้ศึกษา

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาของรายวิชาให้ชัดเจน และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ

จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์และฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่านและเขียน เน้นการอ่าน การเขียนและความเข้าใจข้อความภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคำศัพท์และโครงสร้างประโยคสัมพันธ์กับเอกสารที่ใช้ศึกษาและเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน สกอ.

 

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา

    ศึกษาโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์และฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่านและเขียน เน้นการอ่าน การเขียนและความเข้าใจข้อความภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคำศัพท์และโครงสร้างประโยคสัมพันธ์กับเอกสารที่ใช้ศึกษา



 




English  for  public relations
Dr.prapan nuekkrathok
คณะมนุษยศาสตร์

English for public relations

สัมมนาอังกฤษ ( Seminar in English )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

สัมมนาอังกฤษ ( Seminar in English )

สัมมนาอังกฤษ ( Seminar in English )

สัมมนาปัญหาที่สาคัญภาคภาษาอังกฤษตามหัวข้อที่กาหนด

พระวินัยปิฎก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยุทธนา พูนเกิดมะเริง
คณะมนุษยศาสตร์

พระวินัยปิฎก

พระัวินัยปิฏก คือคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาในส่วนที่เกี่ยวกับข้อบังคับและข้ออนุญาตสำหรับพระภิกษุและภิกษุณี

วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล
สมพร ไพกระโทก
คณะมนุษยศาสตร์

วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

คำอธิบายรายวิชา
          ศึกษาบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  
ประวัติของคอมพิวเตอร์และการสื่อสารองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ระบบดิจิทัล  ภาษาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์  ระบบการประมวลผล การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบข้อมูลและการบริหารข้อมูลเครือข่ายและการสื่อสาร อินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บภัยคุกคามและความมั่นคงของระบบ จริยธรรมและสังคมไซเบอร์

การแปลระดับสูง ( Advanced Translation )
ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
คณะมนุษยศาสตร์

การแปลระดับสูง ( Advanced Translation )

ฝึกการใช้ทฤษฎีทางภาษา และหลักการแปลในการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ฝึกวิธีวิเคราะห์สาเหตุข้อผิดพลาดในการแปล และวิธีแก้ไขข้อบกพร่องในการแปล

Stay in touch

MCU IT

  • http://www.it.mcu.ac.th/
  • Mobile : 0-3524-8082 ภายใน 8075, 8166
  • elearning@mcu.ac.th
Data retention summary
Get the mobile app