งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
คณะพุทธศาสตร์

- แนะนำรายวิชาและแผนการสอน ชี้แจงแนวสังเขปและรายละเอียดประจำวิชา

- บทที่ ๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา

 

บทที่ ๒ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยและล้านนา

    - วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย เรื่อง เตภูมิกถา

    - วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญในล้านนา เรื่อง มังคลัตถทีปนี


เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
คณะพุทธศาสตร์

1. ศึกษาเทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นของไทย

2. ศึกษาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเทศกาลและพิธีกรรม

จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
คณะพุทธศาสตร์

     จิตวิทยาในพระไตรปิฎก เป็นรายวิชาที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะสามารถทำให้ผู้เรียนได้รู้และเข้าใจในหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาที่บันทึกไว้ในพระไตรปิฎก

     วัตถุประสงค์เพื่อให้รู้เรื่อง จิต เจตสิก รูป นิพพาน เป็นต้น

พระพุทธศาสนาเถรวาท
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเถรวาทตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน

พุทธปรัชญา
คณะพุทธศาสตร์
คำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ประวัติและพัฒนการของพุทธปรัชญาในพระพุทธศาสนายุคต้นเถรวาท ฯลฯ
ปรัชญาเบื้องต้น
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาความหมายและขอบเขตของปรัชญา ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนาและวิทยาศาสตร์ สาขาปรัชญา และสาระสำคัญของปรัชญาสาขาต่าง ๆ พัฒนาการของปรัชญาตะวันออกและปรัชญาตะวันตก

พระวินัยปิฎก
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่สำคัญในคั

สัมมนาพระพุทธศาสนา (Seminar on Buddhism)
คณะพุทธศาสตร์
           ศึกษาแนวคิด รูปแบบ วิธีการและดำเนินการสัมมนาปัญหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเด็นต่างๆ โดยเสนอผลงานการค้นคว้าและรายงานประกอบการสัมมนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
คณะพุทธศาสตร์

ความหมายของเทศลการและพิธีกรรม

ประเภทของเทศลการและพิธีกรรม

ความสัมพันธ์ของเทศกาลและพิธีกรรม

พระไตรปิฎกศึกษา
คณะพุทธศาสตร์

             ศึกษากำเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การจำแนกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก คำอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลายลักษณ์อักษร ลำดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา

ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑
คณะพุทธศาสตร์

คำอธิบายรายวิชา

      ศึกษาความเป็นมา ความหมาย  หลักการ วิธีการ และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ๔๐  วิปัสสนาภูมิ   สติปัฏฐาน    หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่   ภาวนา   นิมิต   สมาธิ   รูปฌาน   อรูปฌาน วสี   นิวรณ์   อุปกิเลส ๑๖  ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและนำไปใช้  ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ระยะ นั่งกำหนด    ระยะ หรือ  ระยะ