English for Communication
คณะมนุษยศาสตร์

    ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในด้านการฟังและการพูด การอ่านและการเขียนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน การทักทาย การแนะนำตัว การแสดงออกทางความรู้สึกและความคิดเห็น การแสดงบทบาทสมมติ ศึกษาโครงสร้างและการใช้ไวยากรณ์ เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ


English Semantics
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาวิธีสื่อความหมายในภาษาอังกฤษ  โครงสร้างของความหมายในระดับคำ ระดับประโยค  และระดับข้อความต่อเนื่อง  ศึกษาวิธีการตีความหมายในพจนานุกรม  การจัดหมวดศัพท์  ตามความสัมพันธ์ทางด้านความหมาย ตลอดจนการสื่อสารทางตรงและทางอ้อมด้วยภาษาอังกฤษ 

English Phonology
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาระบบเสียงภาษาอังกฤษในเรื่องสระ พยัญชนะ  การลงเสียงหนักเบา ทำนอง เสียงและระดับเสียง  ฝึกฟัง  ฝึกออกเสียง  และถ่ายทอดเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้สัทอักษร

Public Speaking
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาวิธีการพูดในที่ชุมชนอย่างมีระบบแบบแผนโดยใช้หลักวาทศิลป์และศิลปะการใช้เสียงที่เหมาะสม  ฝึกการเตรียมและกล่าวคำปราศรัยแบบต่างๆ เพื่อชักชวน กระตุ้น และจูงใจ การโต้วาทีเป็นภาษาอังกฤษ 

Principles of Translation
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาหลักการ  กระบวนการและกลวิธีในการแปล  ศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่สัมพันธ์กับการแปล  และบทบาทของการแปลในการสื่อความหมาย  ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาการแปล

English for Office Personnel
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาและฝึกการใช้ภาษาอังกฤษในสำนักงานที่จำเป็นต้องใช้  เน้นความเหมาะสมของการใช้ภาษาที่เป็นทางการ เช่น การอ่านและการบันทึกการประชุม  การดำเนินการประชุม และการเขียนเอกสาร  เขียนจดหมายติดต่อระหว่างประเทศ

Structure and Writing in English
คณะมนุษยศาสตร์

ฝึกการเขียนโดยศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างหลักไวยากรณ์ของประโยค  และองค์ประกอบของงานเขียนระดับย่อหน้า  เน้นการเขียนประโยคที่มีความสัมพันธ์ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนด

Listening and Speaking in English for Propagation
คณะมนุษยศาสตร์

The course focuses on communicative skill for the purpose of Dhamma propagation. The ultimate purpose of the course and the book "Let's Talk" is to incorporate all the skills – listening, speaking, reading and writing. The four skills are always interconnected and I believe they should be integrated skillfully while teaching the language for the long-term benefit of the students. The entire text is written keeping in view the requirements set up by the Thailand Qualifications Framework (TQF) that emphasizes not only on skill and knowledge acquisition but also on a learner-centered and project/research-based learning approach.

English Beginner /ภาษาอังกฤษเบิ้องต้น /ASEAN Languages
คณะมนุษยศาสตร์

This handbook was written by Ms. Naphakanok Muangkotra, the former director of ASEAN Languages Wisdom and Cultural Studies Centre, with collecting from plenty of sources both from websites and books‒ she has, indeed, applied them when writing this book. It goes without saying; those useful English learning websites and handbooks enhanced and advanced our writing abilities. She does, willfully, hope to help learners get a “Breakthrough” of the beginner level and ready for the next level or achieve their expected English levels and advance their English speaking skills.

Reading Tipitaka in English
คณะมนุษยศาสตร์

ฝึกอ่านพระไตรปิฏกภาคภาษาอังกฤษ ที่คัดเลือกจากพระสุตันตปิฎก พระวินัยปิฎก และพระอภิธรรมปิฏก