An Introduction to Linguistics
คณะมนุษยศาสตร์

A study of the meaning of language and linguistics, its brancher, general nature of language and linguistics, general idea of phonetics,

Objective:

1.       To increase knowledge and more understanding language and linguistics

2.       To one can describe language in general term

3.       To understand  phonetics, Phonology, International alphabet phonetics and Thai Phonetics

4.       To one can analyse Thai language as linguistics term


ภาษากับการสื่อสาร
คณะมนุษยศาสตร์

เอกสารเล่มนี้ ได้พัฒนาขึ้นตามโครงการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ

การเรียนรู้พระพุทธศาสนา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐ ของสำนักหอสมุดและเทคโนโลยี

สารสนเทศ ร่วมกับกองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยมี

วัตถุประสงค์ ดังนี้ (๑) เพื่อพัฒนาเนื้อหารายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปและหมวดวิชา

แกนพระพุทธศาสนา หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ให้เป็นที่ยอมรับและใช้ร่วมกันได้ทุก

คณะ วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ห้องเรียน หน่วยวิทยบริการ และสถาบันสมทบ (๒) เพื่อ

พัฒนารูปแบบเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา ให้มีเอกลักษณ์ร่วมกัน ทั้งมีความ

คงทน สวยงาม น่าสนใจต่อการศึกษาค้นคว้า (๓) เพื่อนำเนื้อหาสาระไปพัฒนา

สื่อการศึกษาและเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และระบบคลัง

ข้อสอบ (๔) เพื่อเสริมสร้างทักษะคณาจารย์ในการสร้างผลงานทางวิชาการอย่างมีคุณภาพ

รองรับการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย และเป็นที่ยอมรับทั่วไปในประเทศ

และระดับสากล

ภาษากับการสื่อสาร เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ที่กำหนดให้ศึกษา

“ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษากับการสื่อสาร การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อ

การสื่อสารในชีวิตประจำวัน การฟัง การจับสาระของเรื่อง มารยาทในการฟัง การพูด การ

สนทนา บรรยาย อภิปราย มารยาทในการพูด การอ่านคำร้อยแก้ว คำร้อยกรอง อ่าน

ประกาศ แถลงการณ์ การเขียนจดหมาย ย่อความ เรียงความ โวหารต่างๆ และศึกษา

ระเบียบงานสารบรรณ” ซึ่งมีรายละเอียดที่คณะผู้เขียนได้นำเสนอไว้แล้วในบทต่างๆ

คณะผู้เขียนหวังว่าเอกสารนี้จะยังประโยชน์ต่างๆ ให้เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้องตาม

วัตถุประสงค์ของโครงการพอสมควร จึงขอขอบคุณทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมทำเอกสารเล่มนี้

มีความสำเร็จ สมบูรณ์ เป็นรูปเล่ม อนึ่ง หากมีข้อบกพร่อง ผิดพลาดประการใดเกิดขึ้นใน

ส่วนต่างๆ ของเอกสาร ต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้

คณะกรรมการพัฒนาเนื้อหารายวิชา

สิงหาคม ๒๕๕๐

Analytical Reading in English
คณะมนุษยศาสตร์

A study of grammatical structures of sentences and practice listening, speaking, reading, and writing skills, focusing on reading, writing and comprehension of English passages, which consist of vocabularies, sentence structure relating to studied documents

หลักการแปล
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาหลักการ กระบวนการและกลวิธีขั้นพื้นฐานในการแปล บทบาทการแปลในการสื่อความหมาย ปัญหาที่เกิดขึ้นในการแปล

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น Basic English
คณะมนุษยศาสตร์

นิสิตมีความรู๎ความเข๎าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และการใช้ประเภทของคำในภาษาอังกฤษ การใช๎กาล (Tense) การสร๎างประโยค (Sentence) ฝึกทักษะเบื้องต๎นในการฟัง พูด อํานและเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กัน เน้นด๎านการอํานและ ความเข๎าใจภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรูปประโยคและค าศัพท์ตําง ๆ

English Semantics
คณะมนุษยศาสตร์

To study the English meaning accordance with linguistics, meaning of words, sentences and the relationship of knowledge and meaning in daily life.

ภาษาอังกฤษชั้นสูง (Advance English)
คณะมนุษยศาสตร์

ศึกษาโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์และฝึกทักษะในการฟัง  พูด  อ่านและเขียนเน้นการอ่าน  การเขียนและความเข้าใจข้อความภาษาอังกฤษ  ซึ่งมีศัพท์และโครงสร้างประโยคสัมพันธ์กับเอกสารที่ใช้ศึกษา