วิชาสุขภาพจิตแนวพุทธเป็นเอกสารเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน ผู้เรียบเรียงได้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ประกอบ การเรียนการสอนสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา และสาขาวิชาจิตวิทยา ผู้เรียบเรียงได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น ๘ บท โดยมุ่งเน้นให้นิสิตและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพจิตแนวพุทธ แนวคิดสุขภาพจิตแนวพุทธ สถานการณ์แนวโน้มสุขภาพจิต ความขัดแย้งและความเครียด อิทธิพลของสุขภาพจิตต่อการดำเนินชีวิต การปรับตัวและกลไกทางจิต การให้การปรึกษาด้านสุขภาพจิตแนวพุทธ การป้องกันและการส่งเสริมสุขภาพจิต และการพัฒนาสุขภาพจิตแนวพุทธ
วัฒนธรรม อารยธรรม มนุษย์กับวัฒนธรรม วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมย่อยของไทย วัฒนธรรมไทยสี่ภาค การอนุรักษ์ การเผยแพร่ และการสร้างสรรค์วัฒนธรรทไทย ปัจจัยเกี้อหนุน/บั่นทอนวัฒนธรรมไทย
วิวัฒนาการการแสวงหาความรู้ ความมุ่งหมายการวิจัย ประโยชน์การวิจัย ประเภทการวิจัย ความหมายของคำที่เกี่ยวข้อง ตัวแปร ข้อมูล มาตราการวัด กระบวนการวิจัย แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย เกณฑ์ในการเลือกหัวข้อการวิจัย การตั้งชื่้อเรื่อง การเขียนเค้าโครงการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง เทคนิคการเก็บข้อมูล แบบสอบถาม การหาค่าความเชื่อมั่น การแจกแจงความถี่ ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล การจัดการข้อมูล ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ ชุดข้อมูล พารามิเตอร์และสถิติ สถิติศาสตร์ สถิติพื้นฐานเพื่อการวิเคราะห์เชิงปริมาณ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การศึกษาจิตวิทยาการปรึกษาเพื่อการพัฒนาตนแนวพุทธ เป็นมิติของการศึกษาเพื่อพัฒนาตน โดยใช้เทคนิค กระบวนการในการให้การปรึกษามาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาตน รวมทั้งยังใช้แนวคิดในการพัฒนาตนแนวตะวันตกและพระพุทธศาสนามาบูรณาการกับกระบวนการให้การปรึกษา โดยมีเป้าหมายเพื่อเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ความหมาย แนวคิด หลักการทางพทุธจิตวิทยา พัฒนาการของชีวิตมนุษย์ตั้งแต่ในครรภ์จนถึงวัยผู้สูงอายุ การประยุกต์ใช้หลักพุทธจิตวิทยาวิเคราะห์ตนเอง เน้นวิธีการและแนวทางปฏิบัติในการนำมาใช้พัฒนาตนเองในด้านความคิด แรงจูงใจ อารมณ์ เชาวน์ ปัญญา บุคลิกภาพ พฤติกรรม และการแสดงออก เมื่อสัมพันธ์กับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสรีรจิตวิทยา
ประวัติและแนวคิดความเป็นมา โครงสร้างและหน้าที่ระบบประสาท การรับรู้
ต่อมๆในร่างกาย พันธุกรรม แรงจูงใจ
อารมณ์
ศึกษาความหมายแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้กระบวนการแสวงหาปัจจัยขั้นมูลฐานที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ มนุษย์และสัตว์ชนิดของการเรียนรู้ประวัติการทดลองการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายและ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน กระบวนการเกิดดับของรูปนามตามแนวปฏิจจสมุปบาท โพธิปักขิยธรรม ๓๗ หลักการปฏิบัติตามองค์ธรรมในโพธิปักขิยธรรม ๓๗ และการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตอนที่ ๕
พุทธจิตวิทยาการให้การปรึกษา ถือเป็นการประยุกต์หลักพุทธธรรมและหลักทางจิตวิทยาที่เอื้อต่อการให้การปรึกษาและการบำบัดโรคทางด้านจิตใจ
จึงเป็นหลักกระบวนการช่วยเหลือสามารถนำไปใช้ปฏิบัติหน้าที่การงานทั้งในระดับการพัฒนาเชิงวิชาการและการสร้างฐานองค์ความรู้ใหม่ในวิชาชีพนักจิตวิทยาแบบสุขภาวะองค์รวมเชิงพุทธบูรณาการ
จิตวิทยาเป็นการศึกษาที่เป็นระบบระเบียบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม และกระบวนการของจิต
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพุทธจิตวิทยา
พุทธจิตวิทยาตามหลักอริยสัจจ์ ๔ พุทธจิตวิทยากับกระบวนทางจิตและเจตสิก พุทธจิตวิทยากับการรับรู้
พุทธจิตวิทยากับการเรียนรู้ พุทธจิตวิทยากับการสร้างแรงจูงใจ พุทธจิตวิทยากับการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีในการวางเงื่อนไขพฤติกรรม การทดสอบ และการนำหลักการต่างๆเกี่ยวกับการวางเงี่อนไข
พฤติกรรมการเรียนรู้ การปรับตัวและการบูรณาการการวางเงื่อนไขพฤติกรรมกับหลักพุทธธรรม เพื่อนำไปใช้กับการปรับพฤติกรรมและนำหลักพุทธธรรมเผยแพร่แก่ประชาชน
ศึกษาประวัติแนวคิดทฤษฎีและพื้นฐานทางชีววิทยาพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมพฤติกรรมพัฒนาการของ มนุษย์แรงจูงใจการรับรู้การเรียนรู้เชาวน์ปัญญาความฉลาดทางอารมณ์การจ าการลืมบุคลิกภาพและการปรับตัว สุขภาพจิตพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์และกลุ่ม
หลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในพระสูตรที่เชื่อมโยงกับมหาสติปัฏฐานสูตร เช่น อปัณณกสูตร สติสูตร อาการบรรลุมรรคผลและคุณธรรมของพระอริยบุคคล และฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๖ ระยะ นั่งกำหนด ๖ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์