พระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา (Buddhism and Ecology) วข.อุบลราชธานี
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาความหมาย ขอบขjายของนิเวศวิทยา หลักธรรมสําคัญในพระไตรปิฎก ที่ เกี่ยวกับนิเวศวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบนิเวศ มนุษย์กับธรรมชาติ วิกฤตการณ์ในระบบนิเวศ นโยบายของรัฐและกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม แนวทาง การอนุรักษ์ระบบนิเวศ ด้วยหลักการทางพระพุทธศาสนา


วิชากรรมฐาน 2
คณะพุทธศาสตร์

๐๐๐ ๑๔๐      กรรมฐาน ๑                                          ๓ (๒-๒-๕)

  (Buddhist Meditation I)

           ศึกษาความเป็นมา ความหมาย หลักการ ประโยชน์และวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน อารมณ์ของ
สมถกรรมฐาน ๔๐  วิปัสสนาภูมิ ๖  สติปัฏฐาน  ๔  หลักธรรมที่ควรรู้  ได้แก่   ภาวนา ๓  นิมิต ๓  สมาธิ ๓  รูปฌาน ๔  อรูปฌาน ๔ วสี ๕  นิวรณ์ ๕  อุปกิเลส ๑๖  และฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม นั่งกำหนด  ส่งและสอบอารมณ์

         วัตถุประสงค์

1.       เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติกรรมฐาน

2.       เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจดเกี่ยวกับอารมณ์ของสมถกรรมฐาน 40  วิปัสสนาภูมิ 6

           สติปัฏฐาน  4

3.       เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับหลักธรรมที่ควรรู้ 

4.       ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม นั่งกำหนด  ส่งและสอบอารมณ์


วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา วข.อุบลราชธานี
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาประวัติและพัฒนาการของวรรณกรรมบาลีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่ศึกษาอยู่ในประเทศไทย โดยวิเคราะห์วรรณกรรมที่ น่าสนใจ เช่น วิมุตติมรรค วิสุทธิมรรค มหาวงศ์ทีปวงศ์ ศาสนวงศ์ เตภูมิกถา มังคลัตถทีปนี กาพย์มหาชาติ สังคีติยวงศ์ มงคลวิเสสกถา แก่นพุทธศาสน์ กรรม ทีปนี พุทธธรรม พุทธวิทยา และพระไตรปิฎกฉบับสากล: วิถีธรรมจาก พุทธ ปัญญา


นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก วิทยาเขตอุบลราชธานี
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาความหมายและขอบข่ายของนิเทศศาสตร์ คําสอนสําคัญที่เกี่ยวกับหลักการ รูปแบบ วิธีการสื่อคําสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก และจริยธรรมกับการสื่อสาร ในพระไตรปิฎก