
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
- ความรู้พื้นฐานตรรกศาสตร์
- องค์ประกอบพื้นฐานของตรรกศาสตร์
- ญัตติ
- การใช้เหตุผล
- ปฤจฉวาที
- หลักและวิธีการให้เหตุผลในทางพระพุทธศาสนา

เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา
(Buddhist Festival and Traditions)
ศึกษาเทศกาลและพิธีกรรมที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ความหมาย คุณค่าของเทศกาลและพิธีกรรมนั้นๆ
ให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง

วิชาธรรมะภาคปฏิบัติ 6
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระสูตรที่เชื่อมโยงกับมหาสติปัฏฐานสูตร เช่น
อปัณณกสูตร สติสูตร อาการบรรลุมรรคผลและคุณธรรมของพระอริยบุคคล ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการ
เดินจงกรม ๖ ระยะ นั่งกาหนด ๖ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

วิชาธรรมะภาคปฏิบัติ 4
ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในมหาสติปัฏฐานสูตร กระบวน การเกิดของ
ไตรสิกขาและไตรลักษณ์ หลักธรรมที่ควรรู้ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
โดยการเดินจงกรม ๔ ระยะ นั่งกาหนด ๔ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

พระพุทธศาสนากับแนวคิดใหม่ทางศาสนา
ทางศาสนาตะวันออกและตะวันตก ที่มีวิวัฒนาการเป็นลัทธิ ที่มีอิทธิพลในปัจจุบัน

พระพุทธศาสนากับศาสนาขงจื้อ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับหลักธรรมทาง ศาสนาขงจื๊อที่มีอิทธิพลต่อ
การดารงชีวิตในสังคม

ศาสนากับภาวะผู้นำ
เอกสารการสอนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในรายวิชา ศาสนากับภาวะผู้นำ (Religion and Leadership) ซึ่งเป็นรายวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนา ในระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีค่าหน่วยกิต 2 หน่วยกิต ใช้เวลาเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบ รวมทั้งสิ้น 32 คาบ

ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒
๐๐๐ ๑๕๒ ธรรมะภาคปฏิบัติ Buddhist Meditation II ๒ ๑(๑-๒-๔)
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร และอานาปานสติสูตร วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั้งแบบสมถยานิกะ และวิปัสสนายานิกะ หลักธรรมที่่ควรรู้ ได้แก่ สิกขา ๓ วิชา ๓ และสามัญญลักษณะ ๓ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๒ ระยะ นั่งกำหนด ๒ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

ปรัชญาเบื้องต้น

เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
หลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน รูปแบบต่างๆ ของระบบเศรษฐกิจ การทำงานของกลไกราคาในตลาด บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ เงินตราและสถาบันการเงิน สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และศึกษาเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ

ธรรมะภาคปฏิบัติ 1
เนื้อหาย่อของรายวิชา ธรรมะภาคปฏิบัติ 1 ดังนี้
-ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
-ความหมายหลักการและประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน