วิชา การใช้ภาษาบาลี1 (Usage of Pali I) ศึกษา การใช้ภาษาบาลี การพูดอ่านเขียนภาษาบาลีในระดับพื้นฐาน และแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย แปลไทยเป็นภาษาบาลีโดยใช้หนังสือชาตกัฎฐกถาและธัมม-
ปทัฎฐกถาประกอบทำให้มีความรู้ ความเข้าใจ การใช้ภาษาบาลีกับการบันทึกคำสอนทางพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ อินเดีย ศรีลังกา พม่า ไทย ลาวWhat
is the difference between Buddhism and other religions?
๑. กัมมัฏฐานที่ว่าอยู่กับปัจจุบันอยู่อย่างไรบ้าง จงอธิบาย?.
๒.จงอธิบาย “กัมมัฏฐานที่ท่านชอบปฏิบัติประจำวันมาเป็นลำดับพอสังเขป
สัมมนาเซิงปฏิบัติการเกี่ยวทับเทคนิคการเซียนวิทยานิพนธ์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การติความเซิงพรรณนา การอ้างอง การเขียนบทความวิจัย รูปแบบและวิธีการนำเสนอวิทยานิพนธ์
ศึกษาผลงานทางคัมภีร์
ผลงานทางวรรณกรรมและหลักคำสอนสำคัญของนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนสำคัญทั้งในอดีตและปัจจุบันที่สะท้อนอัตลักษณ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเช่น
ผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ พระอนุรุทธาจารย์ พระสิริมังคลาจารย์ พระพุทธทาสภิกขุ พระพุทธโฆสาจารย์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พระวัลโปละราหุล พระโสภณมหาเถระ(เลดีสยาดอ) นาคารชุน อสังขะ วสุพันธุ
สองขะปะ(วัชรยาน) พระนารทมหาเถระ(ศรีลังกา) ริส เดวิดส์ เชอร์
บาตสกี ดี.ที.ซูซูกิ ทะไลลามะ ติช นัท ฮันห์ เป็นต้น
แนวคิดพุทธปรัชญา กับทางสุดโต่งหมายถึงอะไร ?
๒.จงอธิบายความแตกต่างระหว่างพุทธธรรมกับพุทธปรัชญา มาพอสังเขป
๓.จงอธิบายความแตกต่างและความเหมือนระหว่างสังขารในขันธ์๕กับสังขารในไตรลักษณ์มาพอสังเขป
๔.จงอธิบายว่าทำไหม ผลมาก่อนเหตุในอริยสัจ๔ และพุทธปรัชญา เสนออะไรในอริยสัจ๔ ?
๕.ให้อธิบายพุทธปรัชญาเป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่อย่างไร?
๖.ให้อธิบายปฏิจจสมุปบาทแนวพุทธปรัชญามาพอสังเขป?
๗.ให้อธิบายพุทธปรัชญาเชิงจริยศาสตร์มาพอสังเขป?พระครูปลัดสมหมาย อตฺถสิทฺโธ,ดร. ๐๘๓-๔๕๔๙๙๕๙
ศึกษาหลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนาที่มีความสัมพันธ์กับภมิปัญญาไทยในด้านประวัติศาสตร์ปรัชญาความเชื่อ
จารีตประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นต้น โดยวิเคราะห์บทความและอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อภูมิปัญญาไทย
ศึกษากำเนิดและพัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาท
คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทและหลักคำสอนที่สำคัญ ที่สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนาเถรวาทพร้อมทั้งการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศต่าง
ๆ
Mahayana Buddhism
๖๐๒ ๓๐๘ ศึกษางานสำคัญทางพระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)
Selected Buddhist Works
๖๐๒ ๓๐๙ สัมมนาพระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีในการแสวงหาความรู้แบบวิจัย
ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ความสำคัญของการวิจัยต่อการพัฒนาสังคม
กระบวนการและขั้นตอนของการวิจัย เช่น การเลือกปัญหา การตั้งสมติฐาน
เครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย
โดยเน้นการกระยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการวิจัยทางพระพุทธศาสนา
การแปล การแต่งภาษาบาลีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท ภาษาบาลีในภาษาไทย และการใช้บาลีในสังฆกรรม พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
เพื่อศึกษาความเป็นมาของการรวบรวมพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎก
ระบบการถ่ายทอดโครงสร้าง และสาระสังเขปของพระไตรปิฎก วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญ เช่น
อริยสัจจ์ ๔ ปฏิจสมุปบาท กรรม ไตรลักษณ์ ไตรสิกขา นรก สวรรค์ จิต และวิญญาณ