
พระอภิธรรมปิฎก
ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของพระอภิธรรม และหลักคำสอนในเรื่องจิต คุณสมบัติของจิต และรูปร่างของมนุษย์ สภาวะของจิตที่มีความเป็นอิสระจากสิ่งเศร้าหมอง ในอภิธรรมปิฎก

รัฐศาสตร์ตามแนวพระพุทธศาสนา
รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ที่มีปรากฏอยู่ในคำสอนของพระพุทธศาสนา แต่โดยที่ศาสนาพุทธเป็นศาสนา ไม่ใช่ศาสตร์แห่งการเมืองการปกครองโดยตรง จึงไม่มีหลักทฤษฎีทางรัฐศาสตร์โดยเฉพาะ แต่เป็นคำสอนที่เกี่ยวเนื่องกับศีลธรรมและจริยธรรม ที่ทั้งผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองจะต้องประพฤติเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการอยู่ร่วมกันทั้งในระดับบุคคล กลุ่ม องค์กร สังคม ประเทศชาติ นานาชาติ และมนุษยชาติทั้งมวล การศึกษาวิชา รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ จึงศึกษาโดยกำหนดกรอบแนวคิด โดยอาศัยหลักคำสอนที่มีปรากฏอยู่ในพระพุทธศาสนาที่สอดคล้องกับหลักการทางรัฐศาสตร์

ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในพระสูตรที่เชื่อมโยงกับมหาสติปัฏฐานสูตร เช่น อปัณณกสูตร สติสูตร อาการบรรลุมรรคผลและคุณธรรมของพระอริยบุคคล ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๖ ระยะ นั่งกำหนด ๖ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔
มีเนื้อหาสาระแบ่งเป็น ๖ บท มุ่งหมายให้ศึกษาจิตตานุปัสสนา คืออะไร หลักการและวิธีการปฏิบัติจิตตานุปัสสนา ๑๖ ขั้นตอน หลักการปฏิบัติและกระบวนการเกิดไตรสิกขา หลักการและกระบวนการเกิดไตรลักษณ์ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ คืออะไร ความหมายและหลักการปฏิบัติวิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิธีกำหนดสติแก้ไขสภาวธรรมในการปฏิบัติวิปัสสนา วิปัสสนาญาณ ๑๖ คืออะไร ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตอนที่ ๔ หลักการปฏิบัติกรรมฐานเกี่ยวกับอิริยาบถนั่ง เดินจงกรม วิธีการปฏิบัติวิปัสสนาญาณ ๑๖ การส่งและสอบอารมณ์กรรมฐานตลอดถึงอานิสงส์ในการปฏิบัติธรรม

ธรรมะภาคปฏิบัติ๒
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร และอานาปานสติสูตร วิธีการ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั้งบบสมถยานิกะ และวิปัสสนายานิกะ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ สิกขา ๓ ชชา ๓ และสามัญญลักษณะ ๓ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๒ ระยะ นั่งกำหนด ๒ ระยะ ส่งและสอบอารมณ

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์
การบูรณาการหลักธรรม หลักคิดเทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปํญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองรวมถึง การบริหารราชการแผ่นดินทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นได้ เพื่อให้ผู้เรียนรัฐศาสตร์สามารถเป็นผู้บริหารที่ดีในอนาคต รวมถึงมีความรับผิดชอบต่อ สังคม มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ บัณฑิตในสาขาวิชานี้ สามารถทำงานในหน่วยงาน ราชการได้ทุกแห่ง นอกจากนี้ยังสามารถสมัครนายร้อยตำรวจ ปลัดอำเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดเทศบาล และ องค์การบริหารส่วนจังหวัด รวมไปถึงในกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ได้

การเมืองการปกครองกับพระพุทธศาสนา
ารพัฒนาการเมือง การปกครองตมแนวพระพุทธศาสนาการปกครองท้องถิ่นหาใช่จะไม่มีข้อเสียไม่การปกครองท้องถิ่นที่ไม่ดีอาจนำไปสู่การทำลายประชาธิปไตยหากประชาชนยังไม่มีความพร้อมหากการเมืองไม่เข้มแข็ง จะเปิดโอกาสให้คนไม่ดีเข้า มาหาผลประโยชน์การปกครองท้องถิ่นมีโอกาสสร้างผู้มีอิทธิพลและการปกครองท้องถิ่นที่ไม่ดีจะทำให้เกิดการทุจริตมากข ้หนังสือนและนำไปสู่ปฐมวัยทางการเมืองอีกมากมาย
นอกจากนี้ความสามารถเข้าใจในห้างหุ้นส่วนจำกัดหลักธรรมและระดับหัวเรื่อง: การปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักการเมืองพร้อมทั้งแนวทางในห้างหุ้นส่วนจำกัดหัวเรื่อง: การพัฒนานักการเมืองให้มีคุณภาพโดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักหัวเรื่อง: การ เมืองและระดับการปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และการนำเสนอการพัฒนาการเมืองหลักนิติธรรมกฎหมายปกครองท้องถิ่นไม่มีข้อเสียรัฐบาลท้องถิ่นที่ไม่ดีอาจนำไปสู่การทำลายระบอบประชาธิปไตยหากประชาชนยังไม่พร้อมถ้าการเมืองไม่แข็งแรง โอกาสที่คนไม่ดีจะได้รับประโยชน์จากรัฐบาลท้องถิ่นมีโอกาสที่จะสร้างอิทธิพลและรัฐบาลท้องถิ่นที่ไม่ดีจะทำให้เกิดการทุจริตมาก นี่เป็นปัญหาทางการเมือง

รัฐศาสตร์ในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา

การเมืองกับการปกครองของไทย
รายการเมืองการปกครองของไทย มีเนื้อหาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางการเมืองการปกครองของไทย สัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับการเมืองการปกครองของไทย แบ่งออกเป็น ๑๑ บท
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
บทที่ ๒ การพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
บทที่ ๓ รัฐธรรมนูญ
บทที่ ๔ สถาบันพระมหากษัตริย์
บทที่ ๕ สถาบันนิติบัญญัติ
บทที่ ๖ สถาบันนิติบัญญัติ
บทที่ ๗ สถาบันตุลาการ
บทที่ ๘ องค์กรอิสระและองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๙ พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
บทที่ ๑๐ การเลือกตั้ง
บทที่ ๑๑ การบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ ๑๒ พระพุทธศาสนากับการเมืองการปกครองของไทย

ทฤษฎีองค์การและการจัดการ
ทฤษฎีองค์การและการจัดการทุกองค์การในปัจจุบัน มีการประยกต์ใช้หลายประเภท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้นำเสนอทฤษฎีองค์การและการจัดการแนวพุทธ บูรณาการ ปรับประยุกต์กับทฤษฎีองค์การและการจัดการศาสตร์สมัยใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์การในยุคศตวรรษที่21 ซึ่งต้องเผชิญกับปัจจัยแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหาความขัดแย้ง ความเห็นที่เหมือนและแตกต่าง การจัดการองค์การแนวพุทธให้สนองตอบด้านสังคม เศรษฐกิจ โลกาภิวัตน์ และเทคโนโลยี ควบคู่กับองค์ความรู้การจัดการองค์การสมัยใหม่ ระบุถึงการจัดการ ขบวนการจัดการ บทบาทของการจัดการ คุณสมบัติของนักบริหารที่ประสบความสำเร็จ

การจัดการวิถีชุมชน
การจัดการวิถีชุมชนเชิงพุทธ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ

เหตุการณ์ปัจจุบันในการเมืองไทย
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในช่วงต่างๆ ทั้งอดีตและปัจจุบัน ทางการเมืองไทย

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น
ภาษาอังกฤษเบื้องต้น หมวดวิชาเลือกของรัฐศาสตรบัณฑิต
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการใช้คำนำหน้านาม
(Article) การใช้กาล (Tense) การสร้างประโยค
(Sentence) การใช้บุรพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) ฝึกทักษะเบื้องต้นในการฟัง พูด
อ่านและเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กัน เน้นด้านการอ่านและความเข้าใจภาษาอังกฤษ
ซึ่งมีรูปประโยคและคำศัพท์ต่าง ๆ โดยเรียนเสริมนอกชั้นเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์

การศึกษาอิสระทางการปกครอง

การเมืองกับนโยบายสาธารณะ

การจัดการทรัพยากรมนุษยแนวพุทธ
แนวคิด และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นบทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหารในด้านการวางแผนกำลังคน การคัดเลือก การจ่ายค่าตอบแทน การประเมินผลงานและการจูงใจ การพัฒนาตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์การ