Course image วิปัสสนากรรมฐาน ๔
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานและธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในมหาสติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิดของไตรสิกขาและไตรลักษณ์ หลักธรรมที่ควรรู้ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม นั่งกำหนดส่งและสอบอารมณ์


Course image พระวินัยปิฎก
คณะพุทธศาสตร์

๑.  คำอธิบายรายวิชา

           ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่สำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร โดยอาศัยอรรถกถาและฎีกาประกอบ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระวินัยปิฎก


Course image ภาษาบาลี
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาบาลีไวยากรณ์ ประกอบด้วย อักขรวิธี วจีวิภาค และหลักการแต่ง-แปลบาลีเบื้องต้น

Course image กรรมฐาน 3 (พระครูสุธีคัมภีรญาณ, ผศ.ดร.)
คณะพุทธศาสตร์

Buddhist Meditation III  3

(2-2-5)
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร วิธีการปรับอินทรีย์ ๕ หลักธรรมที่ควรรู้ได้แก่ วิปัลลาส ๓ อภิญญา ๖ วิสุทธิ ๗ วิชชา ๘ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม นั่งกำหนด ส่งและสอบอารมณ์


Course image ๐๐๐ ๔๔๓ กรรมฐาน ๔ ๓ (๒-๒-๕) (Buddhist Meditation IV)
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานและธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในมหาสติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิดของไตรสิกขาและไตรลักษณ์ หลักธรรมที่ควรรู้ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม นั่งกำหนดส่งและสอบอารมณ์


Course image พระพุทธศาสนากับปรัชญา
คณะพุทธศาสตร์


พระพุทธศาสนากับปรัชญา
(Buddhism and Philosophy)
    ศึกษาความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนากับปรัชญา ท่าทีของพระพุทธศาสนาต่อปรัชญา และทัศนะของนักปรัชญาที่มีต่อพระพุทธศาสนา


Course image พระไตรปิฎกศึกษา พระมหาณัฐพันธ์, ดร. วิทยาเขตขอนแก่น
คณะพุทธศาสตร์

ศึกษากำเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การจำแนกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก คำอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลายลักษณ์อักษร ลำดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระไตรปิฎก

Course image พระพุทธศาสนากับสันติภาพ (Buddhism and Peace) โดย พระครูปริยัติธรรมวงศ์. รศ.ดร.
คณะพุทธศาสตร์

พระพุทธศาสนากับสันติภาพ รหัสรายวิชา 101429 ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา พระพุทธศาสนา

วัตถุประสงค์การเรียน
เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมที่เกี่ยวกับสันติภาพในทางพระพุทธศาสนา รูปแบบและวิธีการแก้ไขความขัดแย้งในทางพระพุทธศาสนา การประยุกต์หลักพุทธธรรมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมปัจจุบันโดยเปรียบเทียบกับทัศนะทางตะวันตก

Course image 000145-บาลีไวยากรณ์
คณะพุทธศาสตร์

  • ศึกษาการเขียนการอ่านภาษาบาลี ฐานกรณ์  
  • ศึกษาการออกเสียงพยัญชนะสังโยค 
  • ศึกษาการเชื่อมอักษรด้วยสนธิกิริโยปกรณ์  
  • ศึกษาประเภทและวิธีแจกคำนาม  สังขยา  อัพยยศัพท์  
  • ศึกษากิริยาอาขยาต  นามกิตก์  กิริยากิตก์  สมาสและตัทธิต

Course image Buddhism and Philosophy
คณะพุทธศาสตร์


ศึกษาความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนากับปรัชญา ท่าทีของพระพุทธศาสนาต่อปรัชญา และทัศนะของนักปรัชญาที่มีต่อพระพุทธศาสนา

Course image พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย
คณะพุทธศาสตร์

      เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทยทั้งในมิติของคติชนวิทยา การพัฒนา การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย รูปแบบ ประเภท อิทธิพลและความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย

Course image พุทธปรัชญากับสิ่งแวดล้อม
คณะพุทธศาสตร์

          เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม  และสามารถจำแนกพฤติกรรมของบุคคลและโครงสร้างของสิ่งแวดล้อม  ผลกระทบของ สิ่งแวดล้อม  ที่มีต่อพฤติกรมของบุคคล  การใช้ประโยชน์ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด  มีคุณภาพสามารถ พัฒนาพฤติกรรมของตนเองและสังคมได้อย่างดี

Course image พระวินัยปิฎก (Vinaya Pitaka)
คณะพุทธศาสตร์

๑.  คำอธิบายรายวิชา

           ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่สำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร โดยอาศัยอรรถกถาและฎีกาประกอบ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระวินัยปิฎก

๒. วัตถุประสงค์

หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ

       ๑) อธิบายประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก ได้

       ๒) มารถวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่สำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวารได้

       ๓) สามารถประยุกต์หลักวินัยที่ได้รับจากการศึกษาพระวินัยปิฎกไปปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม

       ๔) เห็นคุณค่าของพระวินัยปิฎกในฐานะหลักการสำคัญของพระพุทธศาสนา

       ๕) เกิดความสำนึกที่จะดำรงคุณค่าของพระวินัยในฐานะการปฏิบัติตนตามพระธรรมวินัย

๓. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

    ๑) ดำเนินการทำสื่อการเรียนการสอนโดย e-learning เพื่อให้เกิดความเข้าใจในหลักวินัย

    ๒) เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์ตามหลักวินัย

    ๓) ใช้หลักการตามพระวินัยเป็นเครื่องมือในการสอนและวิเคราะห์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม

Course image พุทธธรรมกับสังคมไทย
คณะพุทธศาสตร์

       ศึกษาอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย ความเข้าใจพุทธธรรม การใช้พุทธธรรมแก้ปัญหา
ชีวิตและสังคม แนวโน้มของความเชื่อและการปฏิบัติของชาวพุทธในปัจจุบัน และการวิจารณ์พระพุทธศาสนาของ
นักคิดไทยสมัยใหม

Course image ธรรมภาคปฏิบัติ ๖
คณะพุทธศาสตร์

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

          เพื่อให้นิสิตเรียนรู้หลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในพระสูตรที่เชื่อมโยงกับมหาสติปัฏฐานสูตร  เช่น อปัณณกสูตร  สติสูตร  อาการบรรลุมรรคผลและคุณธรรมของพระอริยบุคคล และฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๖ ระยะ นั่งกำหนด ๖ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

Course image ปรัชญาวิเคราะห์
คณะพุทธศาสตร์


ศึกษาแนวคิดวิเคราะห์ของนักปรัชญา ในสมัยปัจจุบัน ได้แก่ วิตก์เกนสไตน์, อันเฟรด, แอร์ ชลิค เฟรเก เบอร์ทรันต์ รัสเซลล์ และศึกษาประวัติและแนวคิดวิเคราะห์ของนักปรั้ชญาสมัยปัจจุบัน ในสำนักจิตนิยม เหตุผลนิยม และประสบการณ์นิยม เพื่อเป็นพื้นฐานในการอธิบายปัญหาในสังคม