Course image การวิเคราะห์ภาษาไทย ดร.อดุลย์ คนแรง
ภาควิชาภาษาไทย

ศึกษาหลักการวิเคราะห์ข้อเขียนภาษาไทยในด้านโครงสร้าง หลักภาษา ถ้อยคำ เนื้อหา
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อความตามแนวไวยากรณ์ และทฤษฎีการวิเคราะห์ประโยค

Course image ภาษาศาสตร์ไทย ดร.อดุลย์ คนแรง
ภาควิชาภาษาไทย

       ศึกษาวิเคราะห์ระบบเสียง การใช้สัทอักษรและการถ่ายอักษร การวิเคราะห์ระบบคำ การสร้างคำ โครงสร้างประโยคในภาษาไทย ตามแนวภาษาศาสตร์ทฤษฎีต่าง ๆ เปรียบเทียบการถ่ายอักษรไทยกับภาษาบาลีและสันสกฤต และวิธีวิเคราะห์ไวยากรณ์ไทยแบบเดิมกับแบบต่าง ๆ ในปัจจุบัน           

Course image การปกครองคณะสงฆ์ไทย ดร.อดุลย์ คนแรง
ภาควิชาภาษาไทย

ศึกษาพัฒนาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบันศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆ กฎ ระเบียบ คำสั่งและประกาศที่สำคัญของคณะสงฆ์  การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันสำหรับคณะสงฆ์ไทย

Course image เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา
ภาควิชาภาษาไทย


  • ๒๕๙ เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔)
  • (Buddhist Festival and Traditions)
  • ศึกษาเทศกาลและพิธีกรรมที่ส าคัญทางพระพุทธศาสนา ความหมาย คุณค่าของเทศกาลและพิธีกรรมนั้น ๆ
  • ให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง


Course image วรรณกรรมท้องถิ่นไทย
ภาควิชาภาษาไทย


๓๐๑ ๓๒๖ วรรณกรรมท้องถิ่นไทย ๓(๓-๐-๖)

(Thai Local Literary Works)

ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา ส านวนภาษาในวรรณกรรมท้องถิ่นไทย พร้อมศึกษาแนวคิดและอิทธิพลทาง

สังคมของวรรณกรรมท้องถิ่นนั้น ๆ

Course image วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
ภาควิชาภาษาไทย

     ศึกษาวิวัฒนาการวรรณกรรมไทยตั้งแต่สมัยอดีตถึงปัจจุบัน ในด้านรูปแบบ เนื้อหา สำนวนภาษา แนวคิด และอิทธิพลต่อสังคม


Course image ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ (Dhamma in English)
ภาควิชาภาษาไทย

ศึกษาศัพท์ธรรมะทางพระพุทธศาสนาที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภาษาอังกฤษ และหนังสือที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่นักปราชญ์ได้รจนาไว้ในภาษาอังกฤษ

Course image ๓๐๑ ๓๐๙ วิวัฒนาการภาษาไทย
ภาควิชาภาษาไทย

   ศึกษาวิวัฒนาการภาษาไทย ตั้งแต่ภาษาจารึกสมัยสุโขทัย ตัวอักษรไทยสมัยต่าง ๆ อธิบายรูปแบบของคำและประโยค เปรียบเทียบการใช้สำนวนภาษาในแต่ละยุคสมัย

Course image วรรณคดีบาลี
ภาควิชาภาษาไทย

ประวัติและพัฒนาการของวรรณคดีบาลี

ความหมาย ประเภท และพัฒนาการของพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา

โยชนาและปกรณ์วิเสส วรรณคดีบาลีในประเทศไทย คุณค่าของวรรณคดีบาลีต่อสังคมไทย